ม-จ-ธ-รอบ-2

ประเทศอาหรับแถบที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของกาแฟ เรียกขานกาแฟตามภาษาอาหรับว่า qahwa หมายถึง ไวน์ หรือเครื่องดื่มที่ได้จากผลไม้ เมื่อคนตุรกีได้ดื่มก็เรียกเพี้ยนไปว่า kahveh ต่อมากาแฟแพร่เข้าสู่ทวิปยุโรป มีการออกเสียงเรียกแตกต่างกันหลากหลาย อาทิ chaoua cahve และ caffe ซึ่งคำหลังนี้มีรากศัพท์ มาจากภาษาอิตาเลียน ส่วนชาวฝรั่งเศส โปรตุเกส และเสปน เรียกกันว่า Caféเมื่อกาแฟเข้าสู่สังคมเมืองผู้ดีอังกฤษ ก็ได้มีการเรียกขานว่า coffee คนไทยเองก็เรียกชื่อเพี้ยนจาก คอฟฟี่ มาเป็น โกปี้ และ กาแฟอย่างที่คุ้นปากกันในปัจจุบัน

ล่าสุด

ที่มาของชื่อกาแฟ การอ้างอิงคำว่า coffee ในภาษาอังกฤษ อยู่ในรูปของ chaoua ซึ่งสามารถสืบย้อนไปได้ถึง ค. ศ.

ตากาล็อก: kape (tl) ทมิฬ: காபி (ta) ( กาปิ) ทิเบต: འཚིག་ཇ ( อ͓ฉ̗ิค ช), ཇ་ཀོབ་པི ( ช โกพ ปิ), ཁོ་ཕི ( โข ผิ), ཁ་ཕེ ( ข เผ) ฝรั่งเศส: café (fr) ช. พม่า: ကော်ဖီ (my) ( เกา์ผี) พีดมอนต์: café ช. ฟรียูลี: cafè ช. ฟินแลนด์: kahvi (fi) มาราเนา: kahawa มาเลย์: kopi (ms), kahwa รัสเซีย: ко́фе (ru) ช. หรือ ก. ( โกฟเย) ลักเซมเบิร์ก: Kaffi (lb) ช. ลาว: ກາເຟ (lo) ( กาเฟ) สเปน: café (es) ช., tinto (es) ช., feca (es) ช. สวาฮีลี: kahawa (sw) 9 สวีเดน: kaffe (sv) ก. อังกฤษ: coffee (en) อาร์มีเนีย: սուրճ (hy) ( ซูรจ) อาหรับ: قَهْوَة ‎ (ar) ญ. ( กัฮวะ) อิดอ: kafeo (io) อิตาลี: caffè (it) ช. อินโดนีเซีย: kopi (id) อินเทอร์ลิงกวา: caffe อุซเบก: qahva (uz) อุยกูร์: قەھۋە ‎ ( qehwe) ฮังการี: kávé (hu) เกาหลี: 커피 (ko) ( คอ̂พี) เขมร: កាហ្វេ ( กาหฺเว) เช็ก: káva (cs) ญ. เดนมาร์ก: kaffe (da) ร. เยอรมัน: Kaffee (de) ช. เวียดนาม: cà phê (vi) ( ก่า เฟ) เอสเปรันโต: kafo (eo) ( คาโฟ) โปรตุเกส: café (pt) ช. โปแลนด์: kawa (pl) ญ. ไทลื้อ: ᦆᦱᧈᦵᦝᧀᧈ ( ฅ่าเฟิ่ย) ไทใหญ่: ၵႃႇၽီႇ (shn) ( ก่าผี่), ၵႃႇၾီႇ (shn) ( ก่าฝี่) ↑

กาแฟ - วิกิพจนานุกรม

  1. หวย อ ธนากร 1 10 61 7
  2. ชวนชื่น พระราม 7 สิรินธร [บ้าน]- อำเภอบางกรวย, นนทบุรี | ThinkOfLiving.Com
  3. สยาม-โปรตุเกสศึกษา: คำเรียก "ชา กาแฟ" ใครลอกใคร ไทย หรือ โปรตุเกส
  4. เหรียญหลวงปู่สรวง รุ่นเสาร์ 5 เทวดาเดินดิน (เนื้อกะไล่เงิน) พร้อมกล่องจากวัด | Lazada.co.th

ที่มาของ “ชื่อ”กาแฟ – shopyayee

เนื้อหา 1 ภาษาไทย 1. 1 รูปแบบอื่น 1. 2 รากศัพท์ 1. 3 การออกเสียง 1. 4 คำนาม 1. 4. 1 คำแปลภาษาอื่น ภาษาไทย [ แก้ไข] กาแฟ (เครื่องดื่ม) เมล็ดกาแฟคั่ว รูปแบบอื่น [ แก้ไข] ( เลิกใช้) กาแฝ่ ข้าวแฝ่ โกปี๊ รากศัพท์ [ แก้ไข] จาก ภาษาฝรั่งเศส café, ซึ่งสืบย้อนที่มาได้จาก ภาษาอิตาลี caffè (ทั้งนี้ คำดังกล่าวปรากฏครั้งแรกในภาษาอิตาเลียนว่า caveé [1]), โดยรับมาจาก ภาษาตุรกีแบบออตโตมัน قهوه ‎ ( kahve) ( ภาษาตุรกี kahve), ซึ่งสืบย้อนไปถึง ภาษาอาหรับ قَهْوَة ‎ ( กัฮวะ, " coffee "). การออกเสียง [ แก้ไข] การแบ่งพยางค์ กา-แฟ การแผลงเป็น อักษรโรมัน ไพบูลย์พับบลิชชิง gaa-fɛɛ ราชบัณฑิตยสภา ka-fae ( มาตรฐาน) สัทอักษรสากล ( คำอธิบาย) /kaː˧. fɛː˧/ ( ส) คำนาม [ แก้ไข] กาแฟ ชื่อ เครื่องดื่ม ชนิดหนึ่ง ทำมาจาก เมล็ด ต้น กาแฟ ชื่อ ไม้พุ่ม หลายชนิดใน สกุล Coffea วงศ์ Rubiaceae เช่น ชนิด C. arabica L., C. canephora Pierre ex Froehner และ C. liberica Bull. ex Hiern ชนิดหลังนี้ กาแฟใบใหญ่ ก็เรียก, กาแฟเป็น พืช แถบ ทวีป แอฟริกา ปลูกเป็นพืช เศรษฐกิจ เมล็ด แก่ คั่ว แล้ว บด ใช้ ชง เป็นเครื่องดื่ม ในเมล็ดกาแฟมี สารเคมี ชนิดหนึ่ง เรียกว่า กาเฟอีน สี น้ำตาล อ่อน อย่างสีของเครื่องดื่มกาแฟใส่ นม คำแปลภาษาอื่น [ แก้ไข] เครื่องดื่ม จ้วง: gahfeih, gyahfeih คำเมือง: ᨠᩣᨼᩯ ( กาแฟ) จอร์เจีย: ყავა (ka) ( ก͇าฝา) จีน: กวางตุ้ง: 咖啡 ( gaa 3 fe 1) จีนกลาง: 咖啡 (zh) ( kāfēi) ซูก: kahawa ญี่ปุ่น: コーヒー (ja) ( โคฮี), 珈琲 (ja) ( โคฮี) ดัตช์: koffie (nl) ช.

บัตร, แผ่น, แผนที่" กับคำว่า "ปาเปล-papel" แปลว่า "กระดาษ" ตรงกับ "paper"ในภาษาอังกฤษ(The Collins Portuguese Pocket Dictionary, 1987, p. 35, p. 124) อีกคำหนึ่งคือ "บาทหลวง" ค้นคว้าโดย เสาวลักษ์ กีชานนท์ (น.

The word of "Coffee" (คำว่ากาแฟมันถูกใช้เมื่อไหร่ แล้วใครเป็นคนตั้งชื่อนี้ขึ้นมา)

ทุกวันนี้คนไทยเพิ่มดีกรีการดื่มชา กาแฟมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นเมื่อผ่านไปที่ไหนก็จะเห็นร้านกาแฟกลาดเกลื่อนไปหมด ทั้งแผงกาแฟโบราณ และร้านกาแฟสัมประทาน(franchises) ซึ่งบางร้านราคาแพงมหาโหดจนผู้เขียนต้องประท้วงด้วยการเลิกดื่มกาแฟไปพักใหญ่ ผู้เขียนเคยถามนักศึกษาบางคนว่า "กาแฟ"มาจากคำว่าอะไร บางคนก็ตอบว่า "คอฟฟี่-coffee"ในภาษาอังกฤษ บางคนก็ตอบอย่างมั่นใจว่า "กาเฟ-café" ในภาษาฝรั่งเศส หนังสืออภิธานศัพท์คำไทยที่มีต้นเค้ามาจากภาษาต่างประเทศ(๒๕๔๐) เรียบเรียงโดยนักวิชาการจำนวนหนึ่งของกรมศิลปากร อธิบายประวัติศาสตร์วัฒนธรรม(Culture History)ของคำว่า "กาแฟ" โดย สมศรี เอี่ยมธรรม(น. ๓๔-๔๐)และ "ชา"โดย นันทนา ตันติเวส(น. ๘๔-๘๙)อย่างน่าสนใจ แม้จะมิได้กล่าวถึงคำเรียก "กาแฟ"ในภาษาจีน แต่ก็บอกให้เราทราบว่า ในภาษาจีนเรียก "ชา"ว่า "ฉา (cha-จีนกลาง)หรือ เต๊(แต้จิ๋ว) ซึ่งก็ใกล้เคียงกับภาษาฝรั่งเศสว่า "thé-เต" หนังสือดังกล่าวระบุถึงคำในภาษาไทยซึ่งพัฒนามาจากภาษาโปรตุเกสจำนวน ๒ คำ ได้แก่ คำว่า กระดาษ และบาทหลวง คำว่า"กระดาษ"มาจากคำว่า "กราตัส" อันเป็นชื่อของชาวโปรตุเกสซึ่งนำกระดาษเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์(น. ๑๙) ประเด็นนี้ผู้เขียนไม่ค่อยจะเห็นด้วยเท่าใดนัก เพราะในภาษาโปรตุเกสเองก็มีคำเรียกกระดาษอยู่หลายคำ อาทิ "การ์ตา-carta แปลว่า card-กระดาษ.

March 18, 2022